วันอาทิตย์ที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2559

วิจัย

ความเป็นมา
   การพัฒนาเด็กต้องครอบคลุมทั้งร่างกาย จิตใจ สังคมและสติปัญญา จากการศึกษาพบว่าการพัฒนา ความสามารถทางด้านสติปัญญาด้วยเหตุผล ซึ่งเป็นสิ่งส าคัญส าหรับการพัฒนาคน คณิตศาสตร์นับเป็น ความสามารถทางสติปัญญาและทักษะด้านหนึ่งที่ควรส่งเสริมและจัดประสบการณ์ให้กับเด็กเนื่องจากคณิตศาสตร์เป็น วิชาที่มีความเกี่ยวข้องในการด ารงชีวิตประจ าวัน ถ้ามองไปรอบ ๆ ตัวจะเห็นว่าเราเกี่ยวข้องกับคณิตศาสตร์ มากมาย เริ่มตั้งแต่ เลขที่บ้าน ทะเบียนรถ ปฏิทิน นาฬิกา การจับจ่ายซื้อของ การติดต่อสื่อสาร เวลา สิ่ง เหล่านี้ล้วนเกี่ยวข้องกันคณิตศาสตร์ด้วยกันทั้งสิ้น ดังนั้นควรส่งเสริมให้เด็กปฐมวัยมีทักษะพื้นฐานทาง 1590 คณิตศาสตร์โดยการจัดประสบการณ์ที่เหมาะสมและเอื้ออ านวยต่อพัฒนาการเด็กปฐมวัย เพราะเด็กปฐมวัย เป็น ช่วงที่เข้าใจคณิตศาสตร์ได้ดี เพราะในขณะที่เด็กพัฒนาทักษะทางด้านสติปัญญา ความสามารถทางการเรียนรู้ มโนคติทางคณิตศาสตร์จะพัฒนาด้วย (นิตยา ประพฤติกิจ, 2537, น. 4)
วัตถุประสงค์ของการวิจัย 
การวิจัยครั้งนี้มีจุดประสงค์เพื่อพัฒนาความสามารถทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัยโดยมีจุดประสงค์ เฉพาะดังนี้
1. เพื่อเปรียบเทียบความสามารถทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัยก่อนและหลังเรียนโดยการเล่นเกม คณิตศาสตร์ที่มีต่อความสามารถทางคณิตศาสตร์
2. เพื่อศึกษาจ านวนนักเรียนที่มีความสามารถทางคณิตศาสตร์ที่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 75 ของคะแนนเต็ม
3. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของเด็กปฐมวัยที่มีต่อการเรียนโดยการเล่นเกมคณิตศาสตร์ที่มีต่อ ความสามารถทางคณิตศาสตร์
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
ในการวิจัยครั้งนี้เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยมี 3 ฉบับ ได้แก่
1. แผนการจัดประสบการณ์กิจกรรมกลางแจ้งโดยการเล่นเกม คณิตศาสตร์ อยู่ในระดับ เหมาะสมมาก
2. แบบประเมินความสามารถทางคณิตศาสตร์ ก่อนเรียนและหลังเรียนมีค่าดัชนีความสอดคล้องไม่น้อย
กว่า 0.5
3. แบบสังเกตพฤติกรรมความพึงพอใจของเด็กปฐมวัยที่มีต่อเกมคณิตศาสตร์พัฒนาความสามารถทาง
คณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัย อยู่ในระดับมากที่สุด
สรุปผลการวิจัย 
1. เด็กปฐมวัยชั้นอนุบาลปีที่ 1/1 โรงเรียนอนุบาลปางศิลาทอง มีผลการพัฒนาความสามารถทาง คณิตศาสตร์ สูงขึ้นทั้ง 4 ด้านหลังจากได้รับการจัดกิจกรรมกลางแจ้งโดยการเล่นเกมคณิตศาสตร์ส าหรับเด็กปฐมวัย 
2. นักเรียนที่มีความสามารถทางคณิตศาสตร์ ที่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 75 ของคะแนนเต็ม หลังเรียนมีค่าเฉลี่ย มากกว่าร้อยละ 75 ของคะแนนเต็ม โดยมีค่าเฉลี่ยคิดเป็นร้อยละ 87.25 ซึ่งมากกว่าก่อนเรียนทีมีค่าเฉลี่ยคิดเป็น ร้อยละ 77.88 สรุปได้ว่า เด็กปฐมวัยชั้นอนุบาลปีที่ 1/1 โรงเรียนอนุบาลปางศิลาทอง มีผลการพัฒนาความสามารถ ทางคณิตศาสตร์สูงขึ้นหลังจากได้รับการจัดกิจกรรมกลางแจ้งโดยการเล่นเกมคณิตศาสตร์ส าหรับเด็กปฐมวัย 3. ผลการศึกษาพฤติกรรมความพึงพอใจของเด็กปฐมวัยที่มีต่อการจัดประสบการณ์โดยใช้เกม คณิตศาสตร์ส าหรับเด็กปฐมวัย ชั้นอนุบาลปีที่ 1/1 ในภาพรวมเด็กปฐมวัยมีพฤติกรรมความพึงพอใจต่อการเล่นเกม คณิตศาสตร์อยู่ในระดับมาก

บทความ

       ปัจจุบันพ่อแม่ผู้ปกครองจำนวนมาก ให้ความสำคัญกับการวางรากฐานความรู้ด้านวิชาการให้กับเด็กปฐมวัยอย่างเข้มข้น โดยเฉพาะทักษะทางภาษาและคณิตศาสตร์ จึงทำให้ช่วง 2-3 ปีที่ผ่านมานี้ ธุรกิจสอนเด็กปฐมวัยเจริญเติบโตอย่างมาก แต่นักวิชาการและนักจิตวิทยาในสหรัฐฯ หลายท่าน ออกมาแสดงความคิดเห็นว่า การเร่งพัฒนาทักษะวิชาการเด็กปฐมวัยเร็วเกินไป เป็นเรื่องที่ไม่เหมาะสม เนื่องจากไม่สอดคล้องกับธรรมชาติของเด็กวัยนี้ ตราบใดที่พ่อแม่หรือผู้ปกครอง ยังคงคาดหวังให้บุตรหลานของตนมีความสามารถด้านวิชาการ เพื่อแข่งขันสู่ระบบการศึกษาขั้นพื้นฐาน คงไม่สามารถห้ามการจัดการสอนที่เน้นวิชาการให้เด็กปฐมวัยได้ ทั้ง ๆ ที่จะส่งผลกระทบต่อเด็กคือ ความเครียด เนื่องจาก เด็กปฐมวัยจำนวนไม่น้อยที่ไม่พร้อมสำหรับการพัฒนาทักษะการอ่าน การเขียน และคณิตศาสตร์ จนส่งผลเสียไปสู่พัฒนาการด้านอื่น ๆดังนั้น ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่าย ควรมีการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับผลกระทบของการเร่งพัฒนาเด็กปฐมวัยให้เก่งด้านวิชาการ เพื่อป้องกันผลกระทบที่อาจจะเกิดขึ้นกับพัฒนาการด้านต่าง ๆ ของเด็กปฐมวัย และสามารถจัดการศึกษาที่สอดคล้องกับพัฒนาการและศักยภาพของเด็กได้อย่างแท้จริง

วันเสาร์ที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2559

การบันทึกครั้งที่ 17 วันอาทิตย์ ที่ 24 เมษายน 2559เวลาเรียน 08.30-11.30 น.

เรียนชดเชย
วันนี้ทำสื่อการสอน แต่งนิทาน และเรียนการทำแผนการสอน
ทักษะ
การทำแผนการสอน
การคิดวิเคราะหื
การประยุกต์ใช้
การทำการสอนให้เด็กๆ
บรรยากาศในห้องเรียน
คนมาน้อยแต่เรียนเข้าใจดี
ประมินการสอน
อ.คอยช่วยชี้แนะทำให้แต่งนิทานง่ายขึ้น
คุณธรรมจริยธรรม
การทำงานเป็นกลุ่ม
การมาตรงเวลา

การบันทึกครั้งที่16 วันศุกร์ ที่ 22 เมษายน 2559เวลาเรียน 13.30-17.30 น.

ความรู้ที่ได้รับ
นำเสนอ
กลุ่มที่1 นำเสนอเรื่องบ้าน
กลุ่มที่2 นำเสนอเรื่องการดูแลรักษารถ
กลุ่มที่3 นำเสนอการดูแลรักษาเครื่องใช้ไฟฟ้า
กลุ่มที่4 นำเสนอการดูแลรักษาร่างกาย
กลุ่มที่5 นำเสนอการดุแลรักษาห้อง
ทักษะ
เทคนิกการสอนที่หลากหลาย
การประยุกต์ใช้
นำวิธีการสอนไปสอนเด็กๆ
บรรยากาศในห้องเรียน
มีความเหนื่อยล้าและง่วงนอน
ประเมินการสอน
อ.สอนเทคนิกต่างๆทำให้รู้เทคนิกต่างๆมากมาย
คุณธรรมจรินธรรม
การตรงต่อเวลา

การบันทึกครั้งที่ 13 วันศุกร์ ที่ 1 เมษายน 2559เวลาเรียน 13.30-17.30 น.

ความรู้ที่ได้รับ
นำเสนองานคือ
1.กลุ่มที่1เป็นกลุ่มของฉัน นำเสนอเรื่องรถ ของ วันอังคาร คือส่วนประกอบของรถ
2.กลุ่มที่2 นำเสนอเรื่องร่างกายของฉัน  ของวันจันทร์ คือ อวัยวะต่างๆของร่างกาย
3.กลุ่มที่3 นำเสนอเรื่องเครื่องใช้ไฟฟ้า ของวันอังคาร คือ ส่วนประกอบของเครื่องใช้ไฟฟ้า
4.กลุ่มที่4 นำเสนอเรื่องสัตว์
ทักษะ
เทคนิกการสอน
การประยุกต์ใช้
การสอนเด็กปฐมวัย
ประเมินการสอน
อ.สอนเข้าใจง่าย
คุณธรรมจริยธรรม
การช่วยเหลือกันในกลุ่ม

การบันทึกครั้งที่12 วันศุกร์ ที่ 25 มีนาคม 2559เวลาเรียน 13.30-17.30 น.

เพื่อนำเสนองาน 3 คน คือ
นางสาววิจิตรา เสริมกลิ่น
นางสาวศิริพร พันโญศรัณยา
และ นางสาว จีรวรรณ งามขำ



การบันทึกครั้งที่ 11 วันศุกร์ ที่ 18 มีนาคม 2559เวลาเรียน 13.30-17.30 น.

ความรู้ที่ได้รับ
อ.ให้แบ่งกลุ่ม กลุ่มละ5คน แล้วให้เลือกหน่วยการสอน
กลุ่มของฉันเลือก หน่วยงต่างๆรอบตัว คือรถ
มีหัวข้อย่อยดังนี้
1.ประเภทของรถ
2.ส่วนประกอบของรถ
3.การดูแลรักษารถ
4.ประโยชน์และข้อควรระวัง
5.ยี่ห้อรถ
และอ.ก็สอนทำ mind mapping
ทักษะ
-การวางแผนในการทำงาน
การประยุกต์ใช้
-การวางแผนในการสอน
บรรยากาศในห้องเรียน
เพื่อนๆช่วยกันวางแผนงาน
ประเมินการสอน
อ.สอนให้เข้าใจวิะีการทำmind mapping
คุณธรรมจริยธรรม
การทำงานเป็นกลุ่ม


การบันทึกครั้งที่ 9 วันศุกร์ ที่ 4 มีนาคม 2559เวลาเรียน 13.30-17.30 น.

ความรู้ที่ได้รับ
อ.แจกกระดาษลังกลุ่มละ 1 ลแผ่นแล้วให้วัดกระดาษเป็น 9 X 7 นิ้ว จำนวน5แผ่น ให้ติดเทปสีแบ่งกระดาษแนวตั้ง แนวนอน และขอบ แล้วติดแผ่นใสให้เรียบร้อย
ทักษะ
-การแยกจำนวน
-การรวมจำนวน
บรรยากาศในห้องเรียน
สนุกสนาน
ประเมินการสอน
อ.สอนสนุก
คุณธรรมจริยธรรม
-การช่วยเหลือกันในกลุ่ม

การบันทึกครั้งที่ 8 วันพุธ ที่ 2 มีนาคม 2559

ไปศึกษาดูงานที่โรงเรียนอนุบาลพิบูลเวศม์
นวัตกรรมในการสอนคือการเรียนแบบโปรเจกต์ และ stem
ในห้องเรียนก็จะมีมุมต่างๆ หน้าห้องเรียนก็จะมีวันในสัปดาห์ นอกห้องก็จะมีจำนวนนักเรียน คนที่มาเรียน และ ไม่มาเรียน

การบันทึกครั้งที่6 วันศุกร์ที่ 19 กุมภาพันธ์ 2559 เวลาเรียน 08.30 -12.30 น.

ความรู้ที่ได้รับ
อ.แจกไม้เสียบลูกชิ้น มีไม้สั้น ไม้กลาง ไม้ยาว คนละ6ไม้ และดินน้ำคนละ1ก้อน แต่เนื่องจากจำนวนไม้ไม่พอกับทุกคนอ.จึงให้จับคู่กันแล้ว ให้ทำเป็นรูป สามเหลี่ยม สองและสามมิติ และทำรูปสี่เหลี่ยม สองและสามิติ
หลังจากนั้นอ.ก็สอนวิธีการนำเสนอคือ
1.วิเคราะห์โจทย์
2.ศึกษาวัสดุที่มีอยู่
3.ลงมือทำ
4.นำเสนอ
ทักษะ
-ได้รู้สาระการเรียนรู้คณิตศาตร์ สาระที่3 เรขาคณิต
-การบูรณาการกับศิลปะ สร้างสรรค์
การประยุกต์ใช้
-สอนให้เด็กรู้จักรูปร่างรูปทรงต่างๆโดยการถามเด็กว่านอกจากการทำรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เหลี่ยมเด็กๆเคยเห็นอะไรบ้างที่เป็นรูปสามเหลี่ยมและสี่เหลี่ยม
บรรยากาศให้ห้องเรียน
สนุกสนาน มีการช่วยเหลือกันในแต่ละคู่
ประเมินการสอน
อ.ให้เราได้คิดวิธีด้วยตนเองทำให้ได้คิดมากขึ้น
คุณธรรมจริยธรรม
-การมาตรงต่อเวลา


วันจันทร์ที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559

การบันทึกครั้งที่5 วันศุกร์ที่ 12กุมภาพันธ์ 2559 เวลาเรียน 13.30 -17.30 น.

ความรู้ที่ได้รับ
  อาจารย์แจกกระดาษA4 คนละ1แผ่น ให้ตีเป็นช่อง 2 ช่องได้แก่
ช่องที่1 ให้ตีเป็นตาราง แนวนอน1เส้น 
ช่องที่2 ให้ตีเป็นตารางแนวนอน 2เส้น
-ช่องแรกอาจารย์ให้แรงเงาสีเหลี่ยมในช่องติดกัน2ช่อง แล้วอาจารย์ถามว่าได้ทั้งหมดกี่แบบ
ฉันทำได้4แบบ
-ช่องที่2 อาจารย์ให้แรงเงาสี่เหลี่ยมในช่องติดกัน3ช่อง แล้วอาจารย์ก็ถามว่าได้กี่แบบ
ฉันทำได้มากที่สุดคือ 8 แบบ แต่พอหลังจากอาจารย์สอนเสร็จ ฉันก็ลองมาคิดว่านอกจากนี้ยังได้อีกไหมปรากฏว่าจริงๆแล้วมันได้มากกว่า8แบบ
คนที่นำเสนองาน
เลขที่ 7 นางสาว ภัทรภร ญาติสังกัด
         8 นางสาว พรชนก ไตรวงษ์ตุ้ม
         9 นางสาว ศิริวรรณ สุวรรณสาร
  อาจารย์ได้ให้ดูคลิป การจัดการเรียนรู้แบบProject Approdch เรื่องเห็ด ที่เกี่ยวกับคณิตศาสตร์

 ทักษะ
-การสังเกต
-การคิดวิเคราะห์

การประยุกต์ใช้
- สิ่งต่างในชีวิตประจำวันนั้นสามารถนำมาสอนในเรื่องคณิตศาสตร์ได้

บรรยากาศในห้องเรียน
-เพื่อนๆช่วยกันตอบคำถามดี

ประเมินการสอน
- อาจารย์สอนให้รู้จักการคิด และ วิเคราะห์ 

คุณธรรมจริยธรรม
-การตรงต่อเวลา
-การตั้งใจเรียน

บันทึกครั้งที่4 วันศุกร์ที่5 กุมภาพันธ์ 2559 เวลาเรียน 13.30 - 17.30 น.


ความรู้ที่ได้รับ
-อาจารย์แจกกระดาษ  ให้เขียนชื่อตนเอง  แล้วนำไปติดที่ช่อง
ช่องที่1 คนที่ตื่นก่อน 7 โมงเช้า
ช่องที่2 คนที่ตื่น 7 โมงเช้า
ช่องที่3 คนที่ตื่อหลัง 7 โมงเช้า
-อาจรย์เขียนตัวเลขในชีวิตประจำวันเป็น 4 ชุด
เกมการศึกษามี 8 เกม
1. จับคู่
2. ภาพตัดต่อ
3. วางภาพต่อปลาย
4. การเรียงลำดับ
5. จัดหมวดหมู่
6. เกมศึกษารายละเอียดภาพ
7. พื้นฐานการบวก
8. เกมจับคู่แบบตารางสัมพันธ์
6 กิจกรรมหลัก มีดังนี้
1. กิจกรรมเสรี
2. กิจกรรมกลางแจ้ง
3. การจัดประสบการณ์
4. ศิลปะสร้างสรรค์
5. เกมการศึกษา
6. การเคลื่อนไหวและจังหวะ
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้คณิตศาสตร์ปฐมวัยมี 6 สาระ  คือ
สาระที่ 1 จำนวนและการดำเนินการ
สาระที่ 2 การวัด
สาระที่ 3 เรขาคณิต มาตรฐาน
สาระที่ 4 พีชคณิต
สาระที่ 5 การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น
สาระที่ 6 ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ การจัดประสบการณ์การเรียนรู้
คนที่นำเสนองาน
งานที่ได้รับมอบหมาย
เลขที่ 3 นางสาว วนิดา สาเมาะ
         5 นางสาว ปรีชญา ชื่นแย้ม
         6 นางสาว เรณุกา บุญประเสริฐ
งานของเล่น
        ฉันนางสาว ปรีชญา และ นางสาว อันทิรา จำปาเกตุ นำเสนอของเล่นที่ชื่อว่า ลูกคิดคิดสนุก

ทักษะ
- บอกเวลา
- บอกจำนวน

การประยุกต์ใช้
-สอนเรื่องเวลาในการตื่นนอนให้เด็กนักเรียน แต่ในขั้นเล็กๆถ้ายังไม่รู้จำนวนเลข ให้ผู้ปกครองเขียนให้

บรรยากาศในห้องเรียน
- มีความสนุกสนาน 
- แอร์เย็นกำลังดีทำให้มีสมาธิในการเรียน

ประเมินการสอน
-อาจารย์สอนสนุก

คุณธรรมจริยธรรม
-การตรงต่อเวลา





   

การบันทึกครั้งที่ 3 วันศุกร์ที่ 29 มกราคม 2559 เวลาเรียน 13.30 - 17.30 น.

ความรู้ที่ได้รับ
อาขารย์แจกกระดาษ ให้คนละ1ใบ ให้เชียนชื่อแล้วนำไปติดฝั่งคนที่มาเรียน และอีกฝั่งเป้นคนไม่มาเรียนเพื่อให้ทราบจำนวนของคนที่มาเรียนและคนที่ขาดเรียน
แล้วอาจารย์ก้็ให้เพื่อนนำเสนองาน
คนที่นำเสนองาน
เลขที่  1 นางสาว สุริยาพร กลั่นบิดา
           2  นางสาว ประวีณา หงสุด
           4  นางสาว ปรียา นักทำนา

ทักษะ 
-การบอกจำนวน
-การนับจำนวน

การประยุกต์ใช้
 -นำไปตรวจสอบการมาโรงเรียนของเด็ก ว่าใครมาโรงเรียนและไม่มาโรงเรียนบ้าง

บรรยากาศในห้องเรียน
-สนุกสนาน

ประเมินการสอน
-อาจารย์พูด และยกสถานการณ์มาทำให้เข้าใจง่ายยิ่งขึ้น

คุณธรรมจริยธรรม
-ตั้งใจเรียน

วันจันทร์ที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2559

การบันทึกครั้งที่ 2 วันศุกร์ ที่ 15 มกราคม 2559 เวลาเรียน 13.30-17.30 น.

ความรู้ที่ได้รับ
อาจารย์แจกกระดาษ ให้หยิบกระดาษ 1 ใบ ต่อ 1คน กระดาาไม่พอ กับจำนวนนักศึกษาแล้วอาจารย์จึงให้นับจำนวนคนที่ยังไม่ได้กระดาษ แสดงว่ามีจำนวนคนมากกว่ากระดาษ ท้ายคาบอาจารย์ให้เขียน mind mapping หัวข้อเรื่อง
"การจัดประสบการณ์คณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย" โดยอาจารย์ได้แบ่งเป็น3หัวข้อหลักๆคือ
1.เด็กปฐมวัย
-ความหมาย
-พัฒนาการ
-ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญา
 เพียเจต์ 
 บรูเนอร์
-การเรียนรู้
 ทฤษฎี
 ความหมาย
 วิธีการเรียนรู้
2.คณิตศาสตร์
-ความหมาย
-สาระการเรียนรู้
-ทักษะคณิต
3.การจัดประสบการณ์
-ความหมาย
-ทฤษฎี
-หลักการ
-แนวทาง
-การปฏิบัติ
-ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

ทักษะ
-การนับจำนวน
-การแก้ไขปัญหา

การประยุกต์ใช้
-ใช้ในการแจกนมให้เด็กๆแล้วถ้านมเกินแสดงว่าเด็กมาไม่ครบหรือการแจกถาดอาหาร

บรรยากาศในห้องเรียน
-แอร์ไม่เย็นจนเกินไปทำให้มีสมาธิในการเรียนเพิ่มขึ้น

ประเมินการสอน
-อาจารย์สร้างสถานการณ์ขึ้นมาทำให้เราได้ใช้ความคิดในการแก้ปัญหา

คุณธรรมจริยธรรม
-มีความรับผิดชอบ
-มีน้ำใจซึ่งกันและกัน



วันศุกร์ที่ 15 มกราคม พ.ศ. 2559

สรุปตัวอย่างการสอน(โทรทัศน์ครู)

    ในช่วงกลางปีที่โรงเรียน เกรทบาร์ เมืองเบอร์มิงแฮม จะสอนให้เด็กเรียนรู้คณิตศาสตร์เป็นรายบุคคลคือการปูคณิตศาสตร์ให้แน่นและเป็นส่วนหนึ่งในชีวิตประจำวัน โดยให้เด็กเป็นผู้นำในการทำกิจกรรมที่มี ตัวเลข รูปร่าง ในชั้นเนิร์สเซอรี่จะมีครูเรเชลและผู้ช่วยครูวาเนสซา สอนเรื่อง การรู้จักตัวเลข การลำดับตัวเลข และการคำนวณ โดยการใช้เพลงในการสอน แล้วก็ออกไปทำกิจกรรมข้างนอก ส่วนในชั้นอนุบาลจะมีครูอแมนดาเป้นผู้สอน เขาจะให้เด็กเล่นเกม เพราะเขาต้องการจะรู้ว่าเด็กรู้อะไรเกี่ยวกับคณิตศาสตร์บ้างในชั้นเนิร์สเซอรี่แล้วต้องมั่นใจได้ว่าเด็กจะมีพัฒนาการเพื่อเตรียมตัวเอาอนุบาล อแมนดาได้กล่าวไว้ว่า"มุมมองคณิตศาสตร์ของผู้สอนจะสะท้อนไปยังเด็ก" ครูแต่ละคนจะมีสมุดจดบันทึกเพื่อติดตามผลการเรียนเด็กเป็นรายบุคคล เพื่อรวบรวมข้อมูลแล้วรายงานผลให้ผู้ปกครอง

วันพฤหัสบดีที่ 14 มกราคม พ.ศ. 2559

การบันทึกครั้งที่ 1 วันศุกร์ ที่ 8 มกราคม 2559 เวลาเรียน 13.30-17.30 น.

ความรู้ที่ได้รับ

อาจารย์แจกกระดาษให้ 3 คนต่อ 1 แผ่น โดยให้ปบ่งกระดาษให้เท่าๆกัน แล้วให้เขียนจุดเด่นของตนเองที่อาจารย์จะสังเกตได้ แล้วอาจารย์ก็บอกให้ทำบล็อค
สิ่งที่ต้องมีในบล็อคคือ
1.คำอธิบายบล็อก 
2.อาจารย์ประจำวิชา
3.ผู้จัดทำ
4.รูปคณะศึกษาศาสตร์และมหาวิทยาลัย
5.นาฬิกาและปฎิทิน
6.ลิงค์รายชื่อเพื่อน
7.ลิงค์ที่เป็นความรู้เกี่ยวกับคณิตศาสตร์
 7.1. บทความ
 7.2. วิจัย
 7.3. โทรทัศน์ครู
 7.4. แหล่งการเรียนรู้

ทักษะ
 
-ได้ช่วยกันคิดวิธีแจกกระดาษวิธีต่างๆ ทำให้รู้ว่าการแจกกระดาษนั้นไม่จำเป็นต้องใช้วิธีเดียว
-ได้ฝึกการคิด

การนำไปประยุกต์

เมื่อเราต้องแจกของให้เด็กๆก็จะหาวิธีที่ทำให้การแจกของนั้นรวดเร็วยิ่งขึ้น

บรรยากาศในห้องเรียน

แอร์เย็นเกินไป

ประเมินวิธีการสอน

อาจารย์มีวิธีการสอนที่จะตั้งคำถามเพื่อให้นักศึกษาได้คิด ทำให้ได้ฝึกการคิดวิเคราะห์ 

คุณธรรมจริยธรรม

- ไม่เข้าเรียนสาย
- ตั้งใจฟังที่อาจารย์สอน
- ไม่พูดคุยขณะที่อาจารย์สอน